วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2563

 

แบบฝึกหัดบทที่ 1 พร้อมเฉลย

ข้อสอบบทที่1เรื่อง ความปลอดภัยเเละทักษะในปฏิบัติการเคมี


 1. การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ ที่เราพบเห็นบ่อยๆ นั้นไม่ขึ้นกับข้อใด

  ก.การขาดความเอาใจใส่ในการทำงาน

  ข.ผู้ปฏิบัติละเลยเรื่องความปลอดภัย

  ค.เกิดจากเคราะห์กรรมหรือโชคชะตา

  ง.เกิดจากความประมาท


2. ข้อใดเป็นอันตรายที่เกิดจากสารเคมี

  ก.สารไวไฟและสารระเบิดได้

  ข.สารกัดกร่อนและระคายเคืองต่อผิว

  ค.สารกัมมันตรังสีและสารที่มีผลต่อการกลายพันธุ์ของทารกให้เกิดการผิดปรกติได้

  ง.ถูกทุกข้อ


3. เหตุการณ์ใดที่ไม่ทำให้สารเคมีเข้าสู่ร่างกายได้

  ก.อบเชยเทแอมโมเนียเข้มข้นลงในบีกเกอร์ 500 มิลลิลิตร โดยไม่ทำในตู้ควัน

  ข.อามเทกรด HF ลงในบีกเกอร์พลาสติกโดยไม่ใส่ถุงมือและไม่ทำในตู้ควัน

  ค.นิดโดนขวดใส่เมทานอลที่ล้างสะอาดแล้วบาดมือ

  ง.นายดำคุยในขณะเทสารลงในคอลัมน์ทำให้สารกระเด็นเข้าปาก


4. ข้อใดกล่าวถูกต้อง

  ก.การต้มตัวทำละลายอินทรีย์ควรวางบน hot plate โดยตรงจะได้เดือดเร็วๆ

  ข.ในการสวมต่อเครื่องแก้ว 2 ชิ้นเข้าด้วยกันควรทากรีสหนาๆ เยอะๆ ที่ข้อต่อเครื่องแก้ว

  ค.ถ้าสารเคมีหกรดตัวบริเวณกว้างให้ถอดเสื้อที่เปื้อนออกและล้างตัวฉุกเฉินภายใน 15 นาที

  ง.ถ้าทำเครื่องแก้วแตก ให้รีบเก็บเศษแก้วทิ้งลงถังขยะทั่วไป


5. เมื่อเกิดไฟไหม้ควรทำอย่างไร

  ก.ปิดและถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าที่กำลังใช้อยู่ทุกเครื่อง

  ข.รีบวิ่งเข้าลิฟต์ทันทีเพราะลิฟต์จะยังไม่ปิดเมื่อไฟเริ่มไหม้

  ค.วิ่งหนีอย่างไม่มีสติลงมาทันทีโดยไม่สนใจสิ่งใด

  ง.รีบกระโดดลงมาทางหน้าต่างทันที


6. พฤติกรรมของนิสิตคนใดที่เหมาะสมในการอยู่ในห้องปฏิบัติการ

  ก.วันนี้นิดต้องทำคอลัมน์ซึ่งสูงมาก จึงสวมร้องเท้าส้นสูงประมาณ 3 นิ้วในการทำแล็บ

  ข.ณัฐง่วงนอนขณะทำแล็บจึงเอากาแฟเข้ามาดื่มในห้องแล็บ

  ค.นิลสวมร้องเท้าผ้าใบและเสื้อแล็บพร้อมทั้งรัดผมทุกครั้งที่เข้าทำแล็บ

  ง.ไก่กับกิ๊กวิ่งหยอกล้อตีกันในห้องแล็บ


7. สารชนิดใดที่นิยมใช้ในเครื่องดับเพลิงสำหรับห้องปฏิบัติการ

  ก.คาร์บอนไดออกไซด์เหลว

  ข.ผงโซเดียมไฮดรอกไซด์

  ค.ผงแคลเซียมคาร์บอเนต

  ง.ผงโซเดียมไฮไดรด์


8. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์เกี่ยวกับความปลอดภัย

  ก.เครื่องดับเพลิง

  ข.อ่างล้างของ

  ค.สัญญาณเตือนภัย

  ง.ที่ล้างตัวฉุกเฉิน


9. ข้อใดเป็นเทคนิคการสูดดมไอของสารเคมีที่ถูกต้อง

  ก.เอาจมูกสูดดมโดยตรงเพื่อให้ได้กลิ่นอย่างชัดเจน

  ข.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 1 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก

  ค.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 3 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก

  ง.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 6 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก


10. ข้อใดเป็นการใช้ตู้ควันที่ผิด

  ก.ยื่นศีรษะเข้าไปดูในตู้ควันว่ามันทำงานหรือยัง

  ข.ตั้งอุปกรณ์และชุดทดลองให้ลึกเข้าไปในตู้ควัน

  ค.ทำความสะอาดพื้นและหน้าต่างกระจกทันทีที่สารเคมีกระเด็นเปื้อน

  ง.หลังใช้งานเสร็จ ดึงกระจกลงมาให้อยู่เหนือพื้นตู้ประมาณ 1-2 นิ้ว


11. สัญลักษณ์ความเป็นอันตรายในระบบ NFPAสีแดงความหมายตรงกับข้อใด




ก.ไวไฟ

ข.อันตรายต่อสุขภาพ

ค.ว่องไวต่อปฏิกิริยาเคมี

ง.สารกัดกร่อน


 12. สัญลักษณ์ GHS ดังกล่าวความหมายตรงกับข้อใด




ก.วัตถุระเบิด

ข.สารไวไฟ

ค.สารกัดกร่อน

ง.อันตรายต่อสุขภาพ


13.สัญลักษณ์ GHS ดังกล่าวความหมายตรงกับข้อใด





ก.สารไวไฟ

ข.วัตถุระเบิด

ค.สารกัดกร่อน

ง.อันตรายต่อสุขภาพ


 14. ข้อใดไม่ควรปฏิบัติในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

ก.เมื่อเกิดแผลจากความร้อน นำยาสีฟันมาทาแผล

ข.เมื่อสัมผัสสารที่ไม่ละลายน้ำ ล้างบริเวณที่สัมผัสด้วยน้ำสบู่

ค.เมื่อมีแก๊สพิษ ให้ออกจากบริเวณนั้นไปยังบริเวณที่อากาศถ่ายเท

ง.เมื่อสัมผัสสารที่เป็นกรดเบส ล้างบริเวณที่สัมผัสด้วยน้ำไหลผ่านมากๆ


15. อุปกรณ์ใดใช้เตรียมสารละลายที่ต้องการความเข้มข้นที่แน่นอน

ก.ปิเปตต์

ข.บิวเรตต์

ค.กระบอกตวง

ง.ขวดกำหนดปริมาตร


 16. อุปกรณ์ใดวัดปริมาตรที่มีความแม่นสูง

ก.บิวเรตต์

ข.ปิเปตต์

ค.บีกเกอร์

ง.กระบอกตวง


17. จากค่าตัวเลข 3.14285 เลขนัยสำคัญ 5 ตัวตรงตามข้อใด

ก.3.1427

ข.3.1428

ค.3.1429

ง.3.1430


18. 2.50 × 5.0 มีผลลัพธ์ตรงตามข้อใด

ก.12

ข.12.0

ค.12.5

ง.13.0


19. การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ ที่เราพบเห็นบ่อยๆ นั้นไม่ขึ้นกับข้อใด

ก.การขาดความเอาใจใส่ในการทำงาน

ข.ผู้ปฏิบัติละเลยเรื่องความปลอดภัย

ค.เกิดจากเคราะห์กรรมหรือโชคชะตา

ง.เกิดจากความประมาท


20.ข้อใดเป็นอันตรายที่เกิดจากสารเคมี

ก.สารไวไฟและสารระเบิดได้

ข.สารกัดกร่อนและระคายเคืองต่อผิว

ค.สารกัมมันตรังสีและสารที่มีผลต่อการกลายพันธุ์ของทารกให้เกิดการผิดปรกติได้

ง.ถูกทุกข้อ


เฉลย

1. การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ ที่เราพบเห็นบ่อยๆ นั้นไม่ขึ้นกับข้อใด

  ก.การขาดความเอาใจใส่ในการทำงาน

  ข.ผู้ปฏิบัติละเลยเรื่องความปลอดภัย

  ค.เกิดจากเคราะห์กรรมหรือโชคชะตา

  ง.เกิดจากความประมาท


2. ข้อใดเป็นอันตรายที่เกิดจากสารเคมี

  ก.สารไวไฟและสารระเบิดได้

  ข.สารกัดกร่อนและระคายเคืองต่อผิว

  ค.สารกัมมันตรังสีและสารที่มีผลต่อการกลายพันธุ์ของทารกให้เกิดการผิดปรกติได้

  ง.ถูกทุกข้อ


3. เหตุการณ์ใดที่ไม่ทำให้สารเคมีเข้าสู่ร่างกายได้

  ก.อบเชยเทแอมโมเนียเข้มข้นลงในบีกเกอร์ 500 มิลลิลิตร โดยไม่ทำในตู้ควัน

  ข.อามเทกรด HF ลงในบีกเกอร์พลาสติกโดยไม่ใส่ถุงมือและไม่ทำในตู้ควัน

  ค.นิดโดนขวดใส่เมทานอลที่ล้างสะอาดแล้วบาดมือ

  ง.นายดำคุยในขณะเทสารลงในคอลัมน์ทำให้สารกระเด็นเข้าปาก


4. ข้อใดกล่าวถูกต้อง

  ก.การต้มตัวทำละลายอินทรีย์ควรวางบน hot plate โดยตรงจะได้เดือดเร็วๆ

  ข.ในการสวมต่อเครื่องแก้ว 2 ชิ้นเข้าด้วยกันควรทากรีสหนาๆ เยอะๆ ที่ข้อต่อเครื่องแก้ว

  ค.ถ้าสารเคมีหกรดตัวบริเวณกว้างให้ถอดเสื้อที่เปื้อนออกและล้างตัวฉุกเฉินภายใน 15 นาที

  ง.ถ้าทำเครื่องแก้วแตก ให้รีบเก็บเศษแก้วทิ้งลงถังขยะทั่วไป


5. เมื่อเกิดไฟไหม้ควรทำอย่างไร

  ก.ปิดและถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าที่กำลังใช้อยู่ทุกเครื่อง

  ข.รีบวิ่งเข้าลิฟต์ทันทีเพราะลิฟต์จะยังไม่ปิดเมื่อไฟเริ่มไหม้

  ค.วิ่งหนีอย่างไม่มีสติลงมาทันทีโดยไม่สนใจสิ่งใด

  ง.รีบกระโดดลงมาทางหน้าต่างทันที


6. พฤติกรรมของนิสิตคนใดที่เหมาะสมในการอยู่ในห้องปฏิบัติการ

  ก.วันนี้นิดต้องทำคอลัมน์ซึ่งสูงมาก จึงสวมร้องเท้าส้นสูงประมาณ 3 นิ้วในการทำแล็บ

  ข.ณัฐง่วงนอนขณะทำแล็บจึงเอากาแฟเข้ามาดื่มในห้องแล็บ

  ค.นิลสวมร้องเท้าผ้าใบและเสื้อแล็บพร้อมทั้งรัดผมทุกครั้งที่เข้าทำแล็บ

  ง.ไก่กับกิ๊กวิ่งหยอกล้อตีกันในห้องแล็บ


7. สารชนิดใดที่นิยมใช้ในเครื่องดับเพลิงสำหรับห้องปฏิบัติการ

  ก.คาร์บอนไดออกไซด์เหลว

  ข.ผงโซเดียมไฮดรอกไซด์

  ค.ผงแคลเซียมคาร์บอเนต

  ง.ผงโซเดียมไฮไดรด์


8. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์เกี่ยวกับความปลอดภัย

  ก.เครื่องดับเพลิง

  ข.อ่างล้างของ

  ค.สัญญาณเตือนภัย

  ง.ที่ล้างตัวฉุกเฉิน


9. ข้อใดเป็นเทคนิคการสูดดมไอของสารเคมีที่ถูกต้อง

  ก.เอาจมูกสูดดมโดยตรงเพื่อให้ได้กลิ่นอย่างชัดเจน

  ข.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 1 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก

  ค.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 3 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก

  ง.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 6 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก


10. ข้อใดเป็นการใช้ตู้ควันที่ผิด

  ก.ยื่นศีรษะเข้าไปดูในตู้ควันว่ามันทำงานหรือยัง

  ข.ตั้งอุปกรณ์และชุดทดลองให้ลึกเข้าไปในตู้ควัน

  ค.ทำความสะอาดพื้นและหน้าต่างกระจกทันทีที่สารเคมีกระเด็นเปื้อน

  ง.หลังใช้งานเสร็จ ดึงกระจกลงมาให้อยู่เหนือพื้นตู้ประมาณ 1-2 นิ้ว


11. สัญลักษณ์ความเป็นอันตรายในระบบ NFPAสีแดงความหมายตรงกับข้อใด




ก.ไวไฟ

ข.อันตรายต่อสุขภาพ

ค.ว่องไวต่อปฏิกิริยาเคมี

ง.สารกัดกร่อน


 12. สัญลักษณ์ GHS ดังกล่าวความหมายตรงกับข้อใด




ก.วัตถุระเบิด

ข.สารไวไฟ

ค.สารกัดกร่อน

ง.อันตรายต่อสุขภาพ


13.สัญลักษณ์ GHS ดังกล่าวความหมายตรงกับข้อใด





ก.สารไวไฟ

ข.วัตถุระเบิด

ค.สารกัดกร่อน

ง.อันตรายต่อสุขภาพ


 14. ข้อใดไม่ควรปฏิบัติในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

ก.เมื่อเกิดแผลจากความร้อน นำยาสีฟันมาทาแผล

ข.เมื่อสัมผัสสารที่ไม่ละลายน้ำ ล้างบริเวณที่สัมผัสด้วยน้ำสบู่

ค.เมื่อมีแก๊สพิษ ให้ออกจากบริเวณนั้นไปยังบริเวณที่อากาศถ่ายเท

ง.เมื่อสัมผัสสารที่เป็นกรดเบส ล้างบริเวณที่สัมผัสด้วยน้ำไหลผ่านมากๆ


15. อุปกรณ์ใดใช้เตรียมสารละลายที่ต้องการความเข้มข้นที่แน่นอน

ก.ปิเปตต์

ข.บิวเรตต์

ค.กระบอกตวง

ง.ขวดกำหนดปริมาตร


 16. อุปกรณ์ใดวัดปริมาตรที่มีความแม่นสูง

ก.บิวเรตต์

ข.ปิเปตต์

ค.บีกเกอร์

ง.กระบอกตวง


17. จากค่าตัวเลข 3.14285 เลขนัยสำคัญ 5 ตัวตรงตามข้อใด

ก.3.1427

ข.3.1428

ค.3.1429

ง.3.1430


18. 2.50 × 5.0 มีผลลัพธ์ตรงตามข้อใด

ก.12

ข.12.0

ค.12.5

ง.13.0


19. การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ ที่เราพบเห็นบ่อยๆ นั้นไม่ขึ้นกับข้อใด

ก.การขาดความเอาใจใส่ในการทำงาน

ข.ผู้ปฏิบัติละเลยเรื่องความปลอดภัย

ค.เกิดจากเคราะห์กรรมหรือโชคชะตา

ง.เกิดจากความประมาท


20.ข้อใดเป็นอันตรายที่เกิดจากสารเคมี

ก.สารไวไฟและสารระเบิดได้

ข.สารกัดกร่อนและระคายเคืองต่อผิว

ค.สารกัมมันตรังสีและสารที่มีผลต่อการกลายพันธุ์ของทารกให้เกิดการผิดปรกติได้

ง.ถูกทุกข้อ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

 เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 3  1.  ก 2.  ก   3.  ค 4.  ง 5.  ค 6.  ก 7.  ก 8 .  ง 9 .  ค 10 .  ค 11.  ค 12.  ข 13.  ก 14.  ข 15.  ค 16.  ค 17.  ก 18...