วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2563


 เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 3 

1. 
2.  
3. 
4. 
5. 
6. 
7. 
8 . 
9 . 
10 . 
11. 
12. 
13. 
14. 
15. 
16. 
17. 
18. 
19. 
20. 

  

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 2

เฉลย

1. ข            2. ค            3. ง            4. ข            5. ข            6. ง               7. ง            8. ง            9. ค                10. ก

11. ก           12. ก            13.ข           14. ข           15.  ค            16.ก            17.ก              18.ก           19. ง              20. ค                          


แบบฝึกหัดบทที่ 3 

 1. จำนวนพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุล CH4 , SiCl4 , NaCl , NH3 เป็นกี่พันธะมีค่าเรียงตามลำดับ  คือข้อใด

   ก. 4 , 4 , 0 , 3     ข. 6 , 3 , 1 , 0       ค. 4 , 3 , 0 , 3      ง. 5 , 4 , 1 , 0

2.
 พันธะเดี่ยว หมายถึงอะไร
    
ก. พันธะที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่
    
ข. พันธะที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่
    
ค. พันธะที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 3 คู่
    
ง. พันธะที่เกิดจากการใช้์อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวร่วมกัน 1 คู่

3.
 ธาตุในข้อใด เกิดพันธะโคเวเลนต์กับธาตุคลอรีนได้ดีที่สุด

    
ก. Na                ข. Ra             ค. C                 ง. Cs

4.
 สมบัติทางกายภาพในข้อใด ที่ใช้อธิบายสมบัติทางเคมีของอโลหะ
    
ก. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมใหญ่ สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนน้อย
    
ข. พลังงานไอออไนเซชันต่ำ ขนาดอะตอมใหญ่ อิเล็กโทรเนกาติวิตีต่ำ
    
ค. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมเล็ก สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนน้อย
    
ง. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมเล็ก อิเล็กโทรเนกาติวิตีสูง

5. 
ธาตุ Z มีพลังงานไอออไนเซชันตั้งแต่ลำดับที่หนึ่งถึงลำดับที่ 8 เป็นดังนี้ 1.320, 3.395, 5.307, 7.476, 10.996, 13.333, 71.343, 84.086 ธาตุ Z มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่าใด

    
ก. 1                ข. 4                ค. 6                ง. 7

6. 
ตารางแสดงค่าพลังงานพันธะเฉลี่ยในสารไฮโดรคาร์บอน
    
ชนิดพันธะ
พลังงานพันธะ
C - H
413
C - C
348
การสลายพันธะโพรเพน (C3H8)  0.5 โมล จะต้องใช้พลังงานมากกว่าหรือน้อยกว่าการสลายพันธะอีเทน (C2H6)  0.5 โมล  เท่าไร
     
ก. มากกว่า 587 kJ     ข. น้อยกว่า 283 kJ      ค. มากกว่า 526 kJ     ง. น้อยกว่า 278 kJ

7. 
เหตุใดสารโคเวเลนต์ จึงมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ำ
    
ก. สารโคเวเลนต์มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย       ข. สารโคเวเลนต์มักสลายตัวได้ง่าย
    
ค. สารโคเวเลนต์ไม่มีประจุไฟฟ้า                                   ง. สารโคเวเลนต์มักมีโมเลกุลขนาดเล็ก

8. 
สารละลายที่เกิดจากธาตุหมู่ 1 กับน้ำ มีสมบัติอย่างไร
    
ก. เป็นกลาง     ข. เป็นได้ทั้งกรดและเบส      ค. เป็นกรด       ง. เป็นเบส

9. 
สาร X เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว สาร Y เป็นโมเลกุลมีขั้ว ส่วนสาร Z เป็นพันธะไม่มีขั้ว ถ้าขนาดของโมเลกุลของ X>Y>Z แล้วสาร X Y และ Z ควรเป็นดังข้อใด

    
ก. CH2 , NH3 , C6H6      ข. BeCl2 , CH2Cl2 , S8      ค. Br2 , H2O , H2      ง. SiH4 , PCl3 , PCl5

10. 
กำหนดค่า EN ของธาตุดังนี้ A = 3.0 , B = 2.8 X= 2.7 , Y = 3.7 จงเรียงลำดับความแรงขั้วจากมากไปน้อย

      
ก. A-B , B-X , X-Y     ข. A-Y , B-X , A-X     ค. Y-B , A-Y , A-X     ง. A-X , B-Y , A-Y

11. 
ถ้า A , B และ C เป็นสารโคเวเลนต์ 3 ชนิด โดยทั้ง 3 ชนิดมีสถานะเป็นของเหลว โมเลกุลของสาร Aและ B มีขั้ว ส่วนโมเลกุลของสาร C ไม่มีขั้ว สารใดสามารถละลายน้ำได้

     
ก. สาร C       ข. สาร A และ C      ค. สาร A เเละ B       ง. สาร B และ C

12. 
จงระบุว่าสารในข้อใดละลายน้ำได้
      1) 
แคลเซียมคลอไรด์                 2) แอมโมเนียมซัลเฟต      3 )เมอร์คิวรี(I)คลอไรด์
      4) 
ไ อร์ออน(III)ไฮดรอกไซด์       5) โพแทสเซียมฟอสเฟต

    
ก. 1 2 3       ข. 1 2 5      ค. 2 3 4       ง. 2 3 5

13. 
ถ้า A, B ,C ,D เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 7,11,17 และ 20 ตามลำดับ สูตรของไอออนและสารประกอบไอออนิกในข้อใดถูกต้อง  

ข้อ
ไอออนบวก
ไอออนลบ
สูตรสารประกอบไอออนิก
D2+
A3-
D3A2
C3+
B2-
C2B3
B+
A-
BA
A+
C-
AC
14. X เป็นสารประกอบของธาตุ Ca และ F มีจุดหลอมเหลวสูง ไม่นำไฟฟ้าที่อุณหภูมิห้อง และละลายน้ำได้น้อยมาก ข้อสรุปใดต่อไปนี้ ไม่ สอดคล้องกับข้อมูลข้างต้น
      
ก. พันธะในสาร X เป็นพันธะไอออนิก           
      
ข. เมื่อ X ละลายน้ำ จะดูดความร้อน ทำให้ละลายได้น้อย
      
ค. X มีสูตร CaF2 ผลึกมีความแข็งแรงมากจึงละลายได้ยาก  
      
ง. สาร X เมื่อหลอมเหลวจะนำไฟฟ้า

15. 
เมื่อละลาย KCl ในน้ำเกิดปฏิกิริยาเป็นขั้น ๆ และมีการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ดังนี้
1) KCl(s) -----> K+(g) + Cl-(aq)                H1 = 701.2 kJ/mol

2) K+(g) + Cl-(g) -------> K+(aq) + Cl-(aq)      H2 = 684.1 kJ/mol

ปฏิกิริยานี้เป็นแบบใด
    
ก. คายพลังงานเท่ากับ 1385.3 kJ/mol           ข. คายพลังงานเท่ากับ 17.1 kJ/mol
    
ค. ดูดพลังงานเท่ากับ 17.1 kJ/mol               ง. ดูดพลังงานเท่ากับ 1385.3 kJ/mol

16. 
สาร X , Y , Z มีพลังงานพันธะเป็น 120 , 200 , 90 kJ/mol ตามลำดับ จงเรียงความยาวพันธะจากน้อยไปมาก

      
ก. X , Y , Z            ข. Z , Y , X                ค. Y , X , Z              ง. Z , X , Y

17. 
ข้อใดกล่าว ไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก  
      
ก.    นำไฟฟ้าได้ทุกสถานะ      ข.   เกิดจากการรวมตัวของไอออนบวกกับไอออนลบ  
      
ค.   จัดเรียงตัวเป็นผลึก           ง.   มีผลรวมของประจุสุทธิ เป็น ศูนย์


18. 
พันธะเคมี หมายถึง อะไร   
      
ก. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม          ข. พลังงานที่ทำให้อะตอมสลายตัว    
      
ค. การอยู่รวมกันของอะตอม              ง. การอยู่รวมกันของโมเลกุล

19. 
กำหนดการจัดอิเล็กตรอนของธาตุให้ ดังนี้  A   2,8,2     B   2,8,8,1     C  2,8,7      D  2,8,18, 8   ธาตุคู่ใดมีการเกิดเป็นสารประกอบไอออนิกได้    
                                 
      
ก.   A  กับ  D          ข.   C  กับ  D         ค.   B  กับ  C           ง.   B  กับ  D

20. เพราะเหตุใด อโลหะจึงยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
      
ก. อโลหะมีค่า EN สูงเสียอิเล็กตรอนยาก          ข. อโลหะมีค่า EN สูงเสียอิเล็กตรอนง่าย
      
ค. อโลหะมีค่า EN ต่ำเสียอิเล็กตรอนยาก          ง. อโลหะมีค่า EN ต่ำเสียอิเล็กตรอนง่าย


 

แบบฝึกหัดบทที่ 2 

1. อะตอมประกอบไปด้วยโปรตอนและอิเล็กตรอนในจำนวนที่เท่า ๆ กัน คือ แบบจำลองอะตอมของใคร

ก. ดอลตัน                    ข. ทอมสัน                        ค. รัทเทอร์ฟอร์ด                           ง. โบร์

2. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ธาตุต่างชนิดกันมีมวลต่างกันหรือมีนิวตรอนต่างกันเรียกว่าไอโซโทป
ข. มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับอิเล็กตรอนในนิวเคลียส
ค. มวลของอะตอม คือ มวลของโปรตอนกับนิวตรอนในนิวเคลียส
ง. เลขอะตอมจะบอกถึงจำนวนโปรตอนและจำนวนนิวตรอนในอะตอม


3. อนุภาคข้อใดที่มีมวลใกล้เคียงกัน
ก.โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน
ข.โปรตอนกับอิเล็กตรอน
ค. นิวครอนกับอิเล็กตรอน
ง. โปรตอนกับนิวตรอน


4. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
ก. โปรตอนและอิเล็กตรอนรวมกันเป็นนิวเคลียสของอะตอม
ข. นิวเคลียสมีขนาดเล็กมากและมีมวลมาก ภายในประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน
ค. นิวเคลียสเป็นกลางทางไฟฟ้าเพราะประจุของโปรตอนกับของอิเล็กตรอนเท่ากัน
ง.อะตอมของธาตุประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอนกระจัดกระจายอยู่ภายในด้วยจำนวนเท่ากัน


5. เลขอะตอมของธาตุ คือข้อใด
ก. จำนวนอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุ
ข. จำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ
ค. จำนวนนิวครอนในอะตอมของธาตุ
ง. จำนวนโปรตอนกับนิวตรอนในอะตอมของธาตุ

6.ข้อใดกลา่วไดถกต้อง
ก.แบบจำลองอะตอมคืิมโนภาพที่สรา้งขึ้น โดยอาศัยข้อมลูจากการทดลองซึ่ง อาจถูก หรือ ผิดก็ได้ 
ข. นักวทิยาศาสตร์ที่เสนอแนวคดิว่าอะตอมไม่เล็กที่สุดแต่ยังมีอิเล็กตรอนที่เล็กกว่าคือ ดอลตัน
ค. เมื่อดูตอมด้วยกลอ้งจลุทรรศน์สนามไอออนกำลังขยาย 750,000 เท่า จะมองเห็นอะตอมได้ช้ัดเจน 
ก. กและข  ข. กและค  ค. กขและ ง  ง. ก เท่านั้น                                                                     

7. เราทราบค่ามวลของอิเล็กตรอนได้จากการทดลองของใคร 
ก. Thomson           ข. Millikan            ค. Rutherford             ง. Thomson และ Millikan  

8.ความแตกต่างระหว่างงแบบจำลองอะตอมของทอมสันและรัทเทอรฟ์อรด์คือข้อใด
 ก. ชนิดของอนุภาคที่อยู่ในอะตอม
 ข. ตำแหน่งของอนุภาคที่อยู่ในอะตอม
 ค. จำนวนอนุภาคที่อยู่ในอะตอม
 ง. ขนาดของอนุภาคที่่อยู่ในอะตอม

9.ผลการทดลองของรัทเทอรฟ์อรด์ในข้อใดที่ไม่ส้อดคล้องกับเเบบจำลองอะตอมของทอมสัน
 ก. อนุภาคแอลฟาผ่านทะลุเเผ่นทองคำมีลักษณะเป็นเส้นตรง
 ข. อนุภาคแอลฟาผ่านทะลุเเผ่นทองคำไปได้ทีการเบี่ยงเบน
ค. อนุภาคแอลฟาวิ่งชนเเผ่นทองคำเเล้วสะส้อนกลับ
ง. อนุภาคแอลฟาบางอนุภาคถูกดูดกลืน

10.ค่า e/m ของไอออนบวกชนิดใดมีค่ามากที่สุด
 ก. Li (A = 7)             ข. Na (A = 24)         ค. K (A = 39)        ง. Ca (A = 40)

กำหนดให้ธาตุ A, B, C และ D มีเลขอะตอมเท่ากับ 55, 38, 35 และ10 ตามลำดับ
11..ธาตุใดมีพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ต่ำที่สุด
ก. A         ข. B         ค. C         ง. D

12.ธาตุ มีเลขอะตอม 15 มีนิวตรอน 16 จะมีเลขมวล โปรตอน และอิเล็กตรอนเท่าไรตามลำดับ
ก. 31, 15, 15                    ข. 31, 16, 15                    ค. 16, 15, 15                    ง. 15, 31, 16


13.ข้อใดอธิบายความหมายไอโซโทปของธาตุได้ถูกต้อง
ก. ธาตุชนิดเดียวกัน เลขมวลเหมือนกันแต่เลขอะตอมต่างกัน
ข. ธาตุชนิดเดียวกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน
ค. ธาตุต่างชนิดกันมีเลขอะตอมเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน
ง. ธาตุต่างชนิดกันมีประจุในนิวเคลียสเหมือนกันแต่เลขมวลต่างกัน



14.ธาตุโซเดียม (Na) มีเลขอะตอมเท่ากับ 11 จะมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนดังข้อใด
ก. 2, 9                ข. 2, 8, 1                ค. 2, 6, 5                ง. 1, 8, 2

15.ข้อใดบอกความหมายของเลขมวลได้ถูกต้อง
ก. จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม
ข. มวลรวมของนิวตรอนโปรตอน และอิเล็กตรอนในอะตอม
ค. มวลรวมของนิวตรอนและโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม
ง. มวลรวมของโปรตอน และอิเล็กตรอนในนิวเคลียสของอะตอม



16.ธาตุคลอรีน (CI) มีเลขอะตอม 17 จะอยู่ในคาบและหมู่ละที่เท่าไรของตารางธาตุ
ก. คาบ หมู่ 7                ข. คาบ หมู่ 3                ค. คาบ หมู่ 7                ง. คาบ หมู่ 8



17.ไอออนของธาตุ X มีจำนวนโปรตอนนิวตรอนและอิเล็กตรอนเท่ากับ 9 10 10 ตามลำดับธาตุ X มีสัญลักษณ์เป็นไปตามข้อใด
ก.ธาตุ X มีเลขมวลเท่ากับ 19 และมีเลขอะตอมเท่ากับ 9
ข. X มีเลขมวลท่ากับ 21 และมีเลขอะตอมเท่ากับ 9
ค.ธาตุ X มีเลขมวลเท่ากับ 21 และมีเลขอะตอมเท่ากับ 11
ง.ธาตุ X มีเลขมวลเท่ากับ 21 และมีเลขอะตอมเท่ากับ

18.สารบริสุทธิ์ของธาตุ X ในข้อที่ 69 มีสูตรโมเลกุลตามข้อใด
ก. F2 ข.Cl2 ค.N2 ง.O2

19.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของธาตุ X ในข้อที่ 69
ก. สาร X มีสถานะเป็นแก๊ส
ข. ไอออนที่เสถียรของธาตุ X มีประจุเป็น -1
ค. ธาตุ X พบได้ในบางส่วนของร่างกายคน
ง.ธาตุ X กับธาตุ Ca เกิดเป็นสารประกอบที่มีสูตร CaX

20.การจัดเรียงอิเล็กตรอนของไอออน X2+ ที่มี 44 โปรตอนเป็นตามข้อใด
ก. [Ar] 3d10 4s2 4p5 4d5
ข. [Ar] 3d10 4s2 4p6 4d2
ค. [Ar] 3d10 4s2 4p6 4d6
ง. [Ar] 3d10 4s2 4p6 4d8        



 

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 1

1. การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ ที่เราพบเห็นบ่อยๆ นั้นไม่ขึ้นกับข้อใด

  ก.การขาดความเอาใจใส่ในการทำงาน

  ข.ผู้ปฏิบัติละเลยเรื่องความปลอดภัย

  ค.เกิดจากเคราะห์กรรมหรือโชคชะตา

  ง.เกิดจากความประมาท


2. ข้อใดเป็นอันตรายที่เกิดจากสารเคมี

  ก.สารไวไฟและสารระเบิดได้

  ข.สารกัดกร่อนและระคายเคืองต่อผิว

  ค.สารกัมมันตรังสีและสารที่มีผลต่อการกลายพันธุ์ของทารกให้เกิดการผิดปรกติได้

  ง.ถูกทุกข้อ


3. เหตุการณ์ใดที่ไม่ทำให้สารเคมีเข้าสู่ร่างกายได้

  ก.อบเชยเทแอมโมเนียเข้มข้นลงในบีกเกอร์ 500 มิลลิลิตร โดยไม่ทำในตู้ควัน

  ข.อามเทกรด HF ลงในบีกเกอร์พลาสติกโดยไม่ใส่ถุงมือและไม่ทำในตู้ควัน

  ค.นิดโดนขวดใส่เมทานอลที่ล้างสะอาดแล้วบาดมือ

  ง.นายดำคุยในขณะเทสารลงในคอลัมน์ทำให้สารกระเด็นเข้าปาก


4. ข้อใดกล่าวถูกต้อง

  ก.การต้มตัวทำละลายอินทรีย์ควรวางบน hot plate โดยตรงจะได้เดือดเร็วๆ

  ข.ในการสวมต่อเครื่องแก้ว 2 ชิ้นเข้าด้วยกันควรทากรีสหนาๆ เยอะๆ ที่ข้อต่อเครื่องแก้ว

  ค.ถ้าสารเคมีหกรดตัวบริเวณกว้างให้ถอดเสื้อที่เปื้อนออกและล้างตัวฉุกเฉินภายใน 15 นาที

  ง.ถ้าทำเครื่องแก้วแตก ให้รีบเก็บเศษแก้วทิ้งลงถังขยะทั่วไป


5. เมื่อเกิดไฟไหม้ควรทำอย่างไร

  ก.ปิดและถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าที่กำลังใช้อยู่ทุกเครื่อง

  ข.รีบวิ่งเข้าลิฟต์ทันทีเพราะลิฟต์จะยังไม่ปิดเมื่อไฟเริ่มไหม้

  ค.วิ่งหนีอย่างไม่มีสติลงมาทันทีโดยไม่สนใจสิ่งใด

  ง.รีบกระโดดลงมาทางหน้าต่างทันที


6. พฤติกรรมของนิสิตคนใดที่เหมาะสมในการอยู่ในห้องปฏิบัติการ

  ก.วันนี้นิดต้องทำคอลัมน์ซึ่งสูงมาก จึงสวมร้องเท้าส้นสูงประมาณ 3 นิ้วในการทำแล็บ

  ข.ณัฐง่วงนอนขณะทำแล็บจึงเอากาแฟเข้ามาดื่มในห้องแล็บ

  ค.นิลสวมร้องเท้าผ้าใบและเสื้อแล็บพร้อมทั้งรัดผมทุกครั้งที่เข้าทำแล็บ

  ง.ไก่กับกิ๊กวิ่งหยอกล้อตีกันในห้องแล็บ


7. สารชนิดใดที่นิยมใช้ในเครื่องดับเพลิงสำหรับห้องปฏิบัติการ

  ก.คาร์บอนไดออกไซด์เหลว

  ข.ผงโซเดียมไฮดรอกไซด์

  ค.ผงแคลเซียมคาร์บอเนต

  ง.ผงโซเดียมไฮไดรด์


8. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์เกี่ยวกับความปลอดภัย

  ก.เครื่องดับเพลิง

  ข.อ่างล้างของ

  ค.สัญญาณเตือนภัย

  ง.ที่ล้างตัวฉุกเฉิน


9. ข้อใดเป็นเทคนิคการสูดดมไอของสารเคมีที่ถูกต้อง

  ก.เอาจมูกสูดดมโดยตรงเพื่อให้ได้กลิ่นอย่างชัดเจน

  ข.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 1 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก

  ค.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 3 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก

  ง.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 6 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก


10. ข้อใดเป็นการใช้ตู้ควันที่ผิด

  ก.ยื่นศีรษะเข้าไปดูในตู้ควันว่ามันทำงานหรือยัง

  ข.ตั้งอุปกรณ์และชุดทดลองให้ลึกเข้าไปในตู้ควัน

  ค.ทำความสะอาดพื้นและหน้าต่างกระจกทันทีที่สารเคมีกระเด็นเปื้อน

  ง.หลังใช้งานเสร็จ ดึงกระจกลงมาให้อยู่เหนือพื้นตู้ประมาณ 1-2 นิ้ว


11. สัญลักษณ์ความเป็นอันตรายในระบบ NFPAสีแดงความหมายตรงกับข้อใด




ก.ไวไฟ

ข.อันตรายต่อสุขภาพ

ค.ว่องไวต่อปฏิกิริยาเคมี

ง.สารกัดกร่อน


 12. สัญลักษณ์ GHS ดังกล่าวความหมายตรงกับข้อใด




ก.วัตถุระเบิด

ข.สารไวไฟ

ค.สารกัดกร่อน

ง.อันตรายต่อสุขภาพ


13.สัญลักษณ์ GHS ดังกล่าวความหมายตรงกับข้อใด





ก.สารไวไฟ

ข.วัตถุระเบิด

ค.สารกัดกร่อน

ง.อันตรายต่อสุขภาพ


 14. ข้อใดไม่ควรปฏิบัติในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

ก.เมื่อเกิดแผลจากความร้อน นำยาสีฟันมาทาแผล

ข.เมื่อสัมผัสสารที่ไม่ละลายน้ำ ล้างบริเวณที่สัมผัสด้วยน้ำสบู่

ค.เมื่อมีแก๊สพิษ ให้ออกจากบริเวณนั้นไปยังบริเวณที่อากาศถ่ายเท

ง.เมื่อสัมผัสสารที่เป็นกรดเบส ล้างบริเวณที่สัมผัสด้วยน้ำไหลผ่านมากๆ


15. อุปกรณ์ใดใช้เตรียมสารละลายที่ต้องการความเข้มข้นที่แน่นอน

ก.ปิเปตต์

ข.บิวเรตต์

ค.กระบอกตวง

ง.ขวดกำหนดปริมาตร


 16. อุปกรณ์ใดวัดปริมาตรที่มีความแม่นสูง

ก.บิวเรตต์

ข.ปิเปตต์

ค.บีกเกอร์

ง.กระบอกตวง


17. จากค่าตัวเลข 3.14285 เลขนัยสำคัญ 5 ตัวตรงตามข้อใด

ก.3.1427

ข.3.1428

ค.3.1429

ง.3.1430


18. 2.50 × 5.0 มีผลลัพธ์ตรงตามข้อใด

ก.12

ข.12.0

ค.12.5

ง.13.0


19. การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ ที่เราพบเห็นบ่อยๆ นั้นไม่ขึ้นกับข้อใด

ก.การขาดความเอาใจใส่ในการทำงาน

ข.ผู้ปฏิบัติละเลยเรื่องความปลอดภัย

ค.เกิดจากเคราะห์กรรมหรือโชคชะตา

ง.เกิดจากความประมาท


20.ข้อใดเป็นอันตรายที่เกิดจากสารเคมี

ก.สารไวไฟและสารระเบิดได้

ข.สารกัดกร่อนและระคายเคืองต่อผิว

ค.สารกัมมันตรังสีและสารที่มีผลต่อการกลายพันธุ์ของทารกให้เกิดการผิดปรกติได้

ง.ถูกทุกข้อ

 

แบบฝึกหัดบทที่ 1 พร้อมเฉลย

ข้อสอบบทที่1เรื่อง ความปลอดภัยเเละทักษะในปฏิบัติการเคมี


 1. การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ ที่เราพบเห็นบ่อยๆ นั้นไม่ขึ้นกับข้อใด

  ก.การขาดความเอาใจใส่ในการทำงาน

  ข.ผู้ปฏิบัติละเลยเรื่องความปลอดภัย

  ค.เกิดจากเคราะห์กรรมหรือโชคชะตา

  ง.เกิดจากความประมาท


2. ข้อใดเป็นอันตรายที่เกิดจากสารเคมี

  ก.สารไวไฟและสารระเบิดได้

  ข.สารกัดกร่อนและระคายเคืองต่อผิว

  ค.สารกัมมันตรังสีและสารที่มีผลต่อการกลายพันธุ์ของทารกให้เกิดการผิดปรกติได้

  ง.ถูกทุกข้อ


3. เหตุการณ์ใดที่ไม่ทำให้สารเคมีเข้าสู่ร่างกายได้

  ก.อบเชยเทแอมโมเนียเข้มข้นลงในบีกเกอร์ 500 มิลลิลิตร โดยไม่ทำในตู้ควัน

  ข.อามเทกรด HF ลงในบีกเกอร์พลาสติกโดยไม่ใส่ถุงมือและไม่ทำในตู้ควัน

  ค.นิดโดนขวดใส่เมทานอลที่ล้างสะอาดแล้วบาดมือ

  ง.นายดำคุยในขณะเทสารลงในคอลัมน์ทำให้สารกระเด็นเข้าปาก


4. ข้อใดกล่าวถูกต้อง

  ก.การต้มตัวทำละลายอินทรีย์ควรวางบน hot plate โดยตรงจะได้เดือดเร็วๆ

  ข.ในการสวมต่อเครื่องแก้ว 2 ชิ้นเข้าด้วยกันควรทากรีสหนาๆ เยอะๆ ที่ข้อต่อเครื่องแก้ว

  ค.ถ้าสารเคมีหกรดตัวบริเวณกว้างให้ถอดเสื้อที่เปื้อนออกและล้างตัวฉุกเฉินภายใน 15 นาที

  ง.ถ้าทำเครื่องแก้วแตก ให้รีบเก็บเศษแก้วทิ้งลงถังขยะทั่วไป


5. เมื่อเกิดไฟไหม้ควรทำอย่างไร

  ก.ปิดและถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าที่กำลังใช้อยู่ทุกเครื่อง

  ข.รีบวิ่งเข้าลิฟต์ทันทีเพราะลิฟต์จะยังไม่ปิดเมื่อไฟเริ่มไหม้

  ค.วิ่งหนีอย่างไม่มีสติลงมาทันทีโดยไม่สนใจสิ่งใด

  ง.รีบกระโดดลงมาทางหน้าต่างทันที


6. พฤติกรรมของนิสิตคนใดที่เหมาะสมในการอยู่ในห้องปฏิบัติการ

  ก.วันนี้นิดต้องทำคอลัมน์ซึ่งสูงมาก จึงสวมร้องเท้าส้นสูงประมาณ 3 นิ้วในการทำแล็บ

  ข.ณัฐง่วงนอนขณะทำแล็บจึงเอากาแฟเข้ามาดื่มในห้องแล็บ

  ค.นิลสวมร้องเท้าผ้าใบและเสื้อแล็บพร้อมทั้งรัดผมทุกครั้งที่เข้าทำแล็บ

  ง.ไก่กับกิ๊กวิ่งหยอกล้อตีกันในห้องแล็บ


7. สารชนิดใดที่นิยมใช้ในเครื่องดับเพลิงสำหรับห้องปฏิบัติการ

  ก.คาร์บอนไดออกไซด์เหลว

  ข.ผงโซเดียมไฮดรอกไซด์

  ค.ผงแคลเซียมคาร์บอเนต

  ง.ผงโซเดียมไฮไดรด์


8. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์เกี่ยวกับความปลอดภัย

  ก.เครื่องดับเพลิง

  ข.อ่างล้างของ

  ค.สัญญาณเตือนภัย

  ง.ที่ล้างตัวฉุกเฉิน


9. ข้อใดเป็นเทคนิคการสูดดมไอของสารเคมีที่ถูกต้อง

  ก.เอาจมูกสูดดมโดยตรงเพื่อให้ได้กลิ่นอย่างชัดเจน

  ข.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 1 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก

  ค.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 3 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก

  ง.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 6 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก


10. ข้อใดเป็นการใช้ตู้ควันที่ผิด

  ก.ยื่นศีรษะเข้าไปดูในตู้ควันว่ามันทำงานหรือยัง

  ข.ตั้งอุปกรณ์และชุดทดลองให้ลึกเข้าไปในตู้ควัน

  ค.ทำความสะอาดพื้นและหน้าต่างกระจกทันทีที่สารเคมีกระเด็นเปื้อน

  ง.หลังใช้งานเสร็จ ดึงกระจกลงมาให้อยู่เหนือพื้นตู้ประมาณ 1-2 นิ้ว


11. สัญลักษณ์ความเป็นอันตรายในระบบ NFPAสีแดงความหมายตรงกับข้อใด




ก.ไวไฟ

ข.อันตรายต่อสุขภาพ

ค.ว่องไวต่อปฏิกิริยาเคมี

ง.สารกัดกร่อน


 12. สัญลักษณ์ GHS ดังกล่าวความหมายตรงกับข้อใด




ก.วัตถุระเบิด

ข.สารไวไฟ

ค.สารกัดกร่อน

ง.อันตรายต่อสุขภาพ


13.สัญลักษณ์ GHS ดังกล่าวความหมายตรงกับข้อใด





ก.สารไวไฟ

ข.วัตถุระเบิด

ค.สารกัดกร่อน

ง.อันตรายต่อสุขภาพ


 14. ข้อใดไม่ควรปฏิบัติในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

ก.เมื่อเกิดแผลจากความร้อน นำยาสีฟันมาทาแผล

ข.เมื่อสัมผัสสารที่ไม่ละลายน้ำ ล้างบริเวณที่สัมผัสด้วยน้ำสบู่

ค.เมื่อมีแก๊สพิษ ให้ออกจากบริเวณนั้นไปยังบริเวณที่อากาศถ่ายเท

ง.เมื่อสัมผัสสารที่เป็นกรดเบส ล้างบริเวณที่สัมผัสด้วยน้ำไหลผ่านมากๆ


15. อุปกรณ์ใดใช้เตรียมสารละลายที่ต้องการความเข้มข้นที่แน่นอน

ก.ปิเปตต์

ข.บิวเรตต์

ค.กระบอกตวง

ง.ขวดกำหนดปริมาตร


 16. อุปกรณ์ใดวัดปริมาตรที่มีความแม่นสูง

ก.บิวเรตต์

ข.ปิเปตต์

ค.บีกเกอร์

ง.กระบอกตวง


17. จากค่าตัวเลข 3.14285 เลขนัยสำคัญ 5 ตัวตรงตามข้อใด

ก.3.1427

ข.3.1428

ค.3.1429

ง.3.1430


18. 2.50 × 5.0 มีผลลัพธ์ตรงตามข้อใด

ก.12

ข.12.0

ค.12.5

ง.13.0


19. การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ ที่เราพบเห็นบ่อยๆ นั้นไม่ขึ้นกับข้อใด

ก.การขาดความเอาใจใส่ในการทำงาน

ข.ผู้ปฏิบัติละเลยเรื่องความปลอดภัย

ค.เกิดจากเคราะห์กรรมหรือโชคชะตา

ง.เกิดจากความประมาท


20.ข้อใดเป็นอันตรายที่เกิดจากสารเคมี

ก.สารไวไฟและสารระเบิดได้

ข.สารกัดกร่อนและระคายเคืองต่อผิว

ค.สารกัมมันตรังสีและสารที่มีผลต่อการกลายพันธุ์ของทารกให้เกิดการผิดปรกติได้

ง.ถูกทุกข้อ


เฉลย

1. การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ ที่เราพบเห็นบ่อยๆ นั้นไม่ขึ้นกับข้อใด

  ก.การขาดความเอาใจใส่ในการทำงาน

  ข.ผู้ปฏิบัติละเลยเรื่องความปลอดภัย

  ค.เกิดจากเคราะห์กรรมหรือโชคชะตา

  ง.เกิดจากความประมาท


2. ข้อใดเป็นอันตรายที่เกิดจากสารเคมี

  ก.สารไวไฟและสารระเบิดได้

  ข.สารกัดกร่อนและระคายเคืองต่อผิว

  ค.สารกัมมันตรังสีและสารที่มีผลต่อการกลายพันธุ์ของทารกให้เกิดการผิดปรกติได้

  ง.ถูกทุกข้อ


3. เหตุการณ์ใดที่ไม่ทำให้สารเคมีเข้าสู่ร่างกายได้

  ก.อบเชยเทแอมโมเนียเข้มข้นลงในบีกเกอร์ 500 มิลลิลิตร โดยไม่ทำในตู้ควัน

  ข.อามเทกรด HF ลงในบีกเกอร์พลาสติกโดยไม่ใส่ถุงมือและไม่ทำในตู้ควัน

  ค.นิดโดนขวดใส่เมทานอลที่ล้างสะอาดแล้วบาดมือ

  ง.นายดำคุยในขณะเทสารลงในคอลัมน์ทำให้สารกระเด็นเข้าปาก


4. ข้อใดกล่าวถูกต้อง

  ก.การต้มตัวทำละลายอินทรีย์ควรวางบน hot plate โดยตรงจะได้เดือดเร็วๆ

  ข.ในการสวมต่อเครื่องแก้ว 2 ชิ้นเข้าด้วยกันควรทากรีสหนาๆ เยอะๆ ที่ข้อต่อเครื่องแก้ว

  ค.ถ้าสารเคมีหกรดตัวบริเวณกว้างให้ถอดเสื้อที่เปื้อนออกและล้างตัวฉุกเฉินภายใน 15 นาที

  ง.ถ้าทำเครื่องแก้วแตก ให้รีบเก็บเศษแก้วทิ้งลงถังขยะทั่วไป


5. เมื่อเกิดไฟไหม้ควรทำอย่างไร

  ก.ปิดและถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าที่กำลังใช้อยู่ทุกเครื่อง

  ข.รีบวิ่งเข้าลิฟต์ทันทีเพราะลิฟต์จะยังไม่ปิดเมื่อไฟเริ่มไหม้

  ค.วิ่งหนีอย่างไม่มีสติลงมาทันทีโดยไม่สนใจสิ่งใด

  ง.รีบกระโดดลงมาทางหน้าต่างทันที


6. พฤติกรรมของนิสิตคนใดที่เหมาะสมในการอยู่ในห้องปฏิบัติการ

  ก.วันนี้นิดต้องทำคอลัมน์ซึ่งสูงมาก จึงสวมร้องเท้าส้นสูงประมาณ 3 นิ้วในการทำแล็บ

  ข.ณัฐง่วงนอนขณะทำแล็บจึงเอากาแฟเข้ามาดื่มในห้องแล็บ

  ค.นิลสวมร้องเท้าผ้าใบและเสื้อแล็บพร้อมทั้งรัดผมทุกครั้งที่เข้าทำแล็บ

  ง.ไก่กับกิ๊กวิ่งหยอกล้อตีกันในห้องแล็บ


7. สารชนิดใดที่นิยมใช้ในเครื่องดับเพลิงสำหรับห้องปฏิบัติการ

  ก.คาร์บอนไดออกไซด์เหลว

  ข.ผงโซเดียมไฮดรอกไซด์

  ค.ผงแคลเซียมคาร์บอเนต

  ง.ผงโซเดียมไฮไดรด์


8. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์เกี่ยวกับความปลอดภัย

  ก.เครื่องดับเพลิง

  ข.อ่างล้างของ

  ค.สัญญาณเตือนภัย

  ง.ที่ล้างตัวฉุกเฉิน


9. ข้อใดเป็นเทคนิคการสูดดมไอของสารเคมีที่ถูกต้อง

  ก.เอาจมูกสูดดมโดยตรงเพื่อให้ได้กลิ่นอย่างชัดเจน

  ข.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 1 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก

  ค.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 3 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก

  ง.เอาภาชนะบรรจุสารเคมีห่างจากตัวประมาณ 6 นิ้ว แล้วโบกพัดไอเข้าหาจมูก


10. ข้อใดเป็นการใช้ตู้ควันที่ผิด

  ก.ยื่นศีรษะเข้าไปดูในตู้ควันว่ามันทำงานหรือยัง

  ข.ตั้งอุปกรณ์และชุดทดลองให้ลึกเข้าไปในตู้ควัน

  ค.ทำความสะอาดพื้นและหน้าต่างกระจกทันทีที่สารเคมีกระเด็นเปื้อน

  ง.หลังใช้งานเสร็จ ดึงกระจกลงมาให้อยู่เหนือพื้นตู้ประมาณ 1-2 นิ้ว


11. สัญลักษณ์ความเป็นอันตรายในระบบ NFPAสีแดงความหมายตรงกับข้อใด




ก.ไวไฟ

ข.อันตรายต่อสุขภาพ

ค.ว่องไวต่อปฏิกิริยาเคมี

ง.สารกัดกร่อน


 12. สัญลักษณ์ GHS ดังกล่าวความหมายตรงกับข้อใด




ก.วัตถุระเบิด

ข.สารไวไฟ

ค.สารกัดกร่อน

ง.อันตรายต่อสุขภาพ


13.สัญลักษณ์ GHS ดังกล่าวความหมายตรงกับข้อใด





ก.สารไวไฟ

ข.วัตถุระเบิด

ค.สารกัดกร่อน

ง.อันตรายต่อสุขภาพ


 14. ข้อใดไม่ควรปฏิบัติในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

ก.เมื่อเกิดแผลจากความร้อน นำยาสีฟันมาทาแผล

ข.เมื่อสัมผัสสารที่ไม่ละลายน้ำ ล้างบริเวณที่สัมผัสด้วยน้ำสบู่

ค.เมื่อมีแก๊สพิษ ให้ออกจากบริเวณนั้นไปยังบริเวณที่อากาศถ่ายเท

ง.เมื่อสัมผัสสารที่เป็นกรดเบส ล้างบริเวณที่สัมผัสด้วยน้ำไหลผ่านมากๆ


15. อุปกรณ์ใดใช้เตรียมสารละลายที่ต้องการความเข้มข้นที่แน่นอน

ก.ปิเปตต์

ข.บิวเรตต์

ค.กระบอกตวง

ง.ขวดกำหนดปริมาตร


 16. อุปกรณ์ใดวัดปริมาตรที่มีความแม่นสูง

ก.บิวเรตต์

ข.ปิเปตต์

ค.บีกเกอร์

ง.กระบอกตวง


17. จากค่าตัวเลข 3.14285 เลขนัยสำคัญ 5 ตัวตรงตามข้อใด

ก.3.1427

ข.3.1428

ค.3.1429

ง.3.1430


18. 2.50 × 5.0 มีผลลัพธ์ตรงตามข้อใด

ก.12

ข.12.0

ค.12.5

ง.13.0


19. การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ ที่เราพบเห็นบ่อยๆ นั้นไม่ขึ้นกับข้อใด

ก.การขาดความเอาใจใส่ในการทำงาน

ข.ผู้ปฏิบัติละเลยเรื่องความปลอดภัย

ค.เกิดจากเคราะห์กรรมหรือโชคชะตา

ง.เกิดจากความประมาท


20.ข้อใดเป็นอันตรายที่เกิดจากสารเคมี

ก.สารไวไฟและสารระเบิดได้

ข.สารกัดกร่อนและระคายเคืองต่อผิว

ค.สารกัมมันตรังสีและสารที่มีผลต่อการกลายพันธุ์ของทารกให้เกิดการผิดปรกติได้

ง.ถูกทุกข้อ

 เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 3  1.  ก 2.  ก   3.  ค 4.  ง 5.  ค 6.  ก 7.  ก 8 .  ง 9 .  ค 10 .  ค 11.  ค 12.  ข 13.  ก 14.  ข 15.  ค 16.  ค 17.  ก 18...